Page 94 - GPF Annual Report 2018
P. 94
092 รายงานประจำาปี 2561 ผลการดำาเนินงาน ปี 2561
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์กร (2) การก�ากับดูแลการปฏิบัติงานโดยหน่วยงาน
ทางด้านก�ากับ (Second Line of Defense) เป็นผู้ก�าหนด
กบข. ตระหนักถึงความส�าคัญในการท�าหน้าที่ กรอบนโยบายการควบคุมภายในที่ดีให้เป็นไปตามมาตรฐาน
ดูแลรักษาผลประโยชน์ของสมาชิก จึงก�าหนดนโยบายให้ และข้อก�าหนดทางกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การด�าเนินงานของ กบข. เป็นไปตามมาตรฐานการก�ากับดูแล (3) หน่วยงานตรวจสอบภายใน (Third Line of
กิจการที่ดี หลักจริยธรรม จรรยาบรรณ โดยมีกระบวนการ Defense) เป็นหน่วยงานอิสระที่รายงานตรงต่อ
บริหารจัดการความเสี่ยง การก�ากับดูแลการปฏิบัติงาน คณะอนุกรรมการตรวจสอบ ท�าหน้าที่ตรวจสอบ ประเมิน
ตามกฎระเบียบ และการควบคุมภายในเพื่อให้การด�าเนินงาน ความเพียงพอของกระบวนการก�ากับดูแล การบริหาร
เป็นไปด้วยความซื่อสัตย์ รอบคอบ ระมัดระวังและปราศจาก ความเสี่ยง และการควบคุม ของหน่วยงานธุรกิจและ
ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จึงได้ก�าหนดโครงสร้างของ หน่วยงานก�ากับดูแลอีกครั้ง
การควบคุมภายใน และการก�ากับดูแลโดยมีคณะกรรมการ
กบข. ท�าหน้าที่ก�าหนดนโยบาย ทิศทางการด�าเนินงาน ในการนี้ กบข. ในฐานะหนึ่งในนักลงทุนสถาบัน
และก�ากับดูแลการด�าเนินงาน ซึ่งได้มีการมอบหมายหน้าที่ หลักของประเทศ ได้ตระหนักถึงภาระหน้าที่ที่จะต้องลงทุน
ให้คณะอนุกรรมการชุดต่าง ๆ อาทิเช่น คณะอนุกรรมการ อย่างรับผิดชอบเพื่อประโยชน์ในระยะยาวของสมาชิก
ธรรมมาภิบาล คณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยง และ พร้อมไปกับการยกระดับการลงทุนของประเทศให้เป็นที่
คณะอนุกรรมการตรวจสอบ ซึ่งประกอบไปด้วยผู้เชี่ยวชาญ น่าเชื่อถือในตลาดเงินตลาดทุนของโลก กบข. จึงให้
และผู้มีประสบการณ์เฉพาะทางท�าหน้าที่ก�ากับดูแล ความส�าคัญกับการวิเคราะห์การลงทุนอย่างรับผิดชอบ
กลั่นกรอง ให้ความเห็นการด�าเนินงานที่ส�าคัญในด้านต่าง ๆ โดยน�าปัจจัยด้าน ESG (สิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล)
ต่อคณะกรรมการ กบข. ซึ่งถือเป็นกลไกสนับสนุนการท�างาน มาประกอบการวิเคราะห์ ซึ่งจะช่วยสร้างความมั่นใจใน
ให้มีประสิทธิภาพมั่นใจได้ว่าครอบคลุมความเสี่ยงและประเด็น ความยั่งยืนของกองทุน และมีแนวโน้มที่จะสร้างผลตอบแทน
ส�าคัญที่เกี่ยวข้องไว้อย่างครบถ้วน ที่ดีให้แก่สมาชิกในระยะยาวอีกด้วย โดยได้ร่วมลงนาม
นอกจากนี้ กบข. ยังปลูกฝังวัฒนธรรมให้ผู้บริหาร รับการปฏิบัติตาม “หลักธรรมาภิบาลการลงทุนส�าหรับ
และพนักงานในฐานะเจ้าของความเสี่ยงมีความเข้าใจ ผู้ลงทุนสถาบัน (Investment Governance Code: I Code)”
และตระหนักถึงความส�าคัญของการก�ากับดูแลกิจการที่ดี ของส�านักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. พร้อมได้จัดท�าเป็น
การบริหารความเสี่ยง การปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบ แผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาการลงทุนอย่างต่อเนื่องด้าน
ที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด เพื่อให้มีบทบาทของการบริหาร สิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล (ESG Investment)
ความเสี่ยงในกระบวนการท�างานของตนเอง (Risk Owner as โดยในปี 2561 กบข. ได้จัดพอร์ตการลงทุน
Risk Manager) ซึ่งจะส่งผลให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหาร ESG-Focused Portfolio มูลค่า 1 พันล้านบาท เพื่อลงทุน
ความเสี่ยงเพราะฝ่ายงานในฐานะเจ้าของความเสี่ยงเป็น ในหุ้น 33 กิจการที่ผ่านเกณฑ์การคัดเลือกด้าน ESG ของ
ผู้ปฏิบัติ มีความรอบรู้ในเนื้องานย่อมสามารถรับรู้ปัจจัยเสี่ยง กบข. มุ่งหวังนักลงทุนสถาบันในประเทศยึดหลักการลงทุน
และสาเหตุต่าง ๆ ที่อาจท�าให้งานไม่บรรลุวัตถุประสงค์ จึงเป็น อย่างรับผิดชอบเพื่อส่งเสริมให้ประเทศเกิดการพัฒนา
ผู้ที่สามารถป้องกันและบริหารจัดการความเสี่ยงได้ดีที่สุด ในทุกมิติอย่างยั่งยืน เกณฑ์ประเมินมาตรฐาน ESG ของ
โดยหลักการที่ กบข. น�ามาใช้เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าจะบรรลุ กบข. ประกอบด้วยเกณฑ์เจตนารมณ์พื้นฐาน เกณฑ์การ
วัตถุประสงค์ที่ก�าหนดไว้ภายใต้การบริหารจัดการความเสี่ยง ประกอบธุรกิจ เกณฑ์ความโปร่งใส และเกณฑ์การก�ากับ
ในทุกระดับอย่างเหมาะสมได้แก่ การจัดให้มีการก�ากับดูแล ดูแลที่ดี ซึ่ง กบข.ให้ความส�าคัญกับกิจการที่สมัครร่วมโครงการ
ตามแนวปฏิบัติสากล Three Lines of Defense ดังนี้ แนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต
(1) ระดับหน่วยธุรกิจ (First Line of Defense) (CAC) การจัดตั้งพอร์ตการลงทุน ESG เป็นการลงทุนอย่าง
การก�าหนดให้มีการแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน รับผิดชอบซึ่งนอกจากจะช่วยสร้างผลตอบแทนที่ยั่งยืนแล้ว
และควบคุมงานการน�าระบบงานมาใช้เพื่อให้เกิดการปฏิบัติงาน ยังช่วยลดความเสี่ยงด้านการเงินและการเสียชื่อเสียงอีกด้วย
ที่ถูกต้อง และการจัดให้มีการรายงานข้อมูลทางการเงิน
การปฏิบัติงานที่ส�าคัญให้ผู้บริหารรับทราบอยู่ตลอดเวลา