Page 44 - GPF Annual Report 2018
P. 44

042     รายงานประจำาปี 2561                                                      ข้อมูลองค์กร กบข.




          ลักษณะการด�าเนินงานของ กบข.




          การจัดตั้งและสถานะ



               กองทุนบ�าเหน็จบ�านาญข้าราชการ (กบข.) เป็นกองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติกองทุนบ�าเหน็จบ�านาญข้าราชการ
          พ.ศ. 2539 (พระราชบัญญัติ กบข.) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
               (1)   เป็นหลักประกันการจ่ายบ�าเหน็จบ�านาญและให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการแก่ข้าราชการเมื่อออกจากราชการ
               (2)   ส่งเสริมการออมทรัพย์ของสมาชิก
               (3)   จัดสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อื่นให้แก่สมาชิก
               กบข. เป็นองค์กรที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติ กบข. ไม่มีสถานะเป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจตามกฎหมาย ว่าด้วยวิธีการ
          งบประมาณ และรายได้ของกองทุนไม่ต้องน�าส่งเป็นรายได้แผ่นดิน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติ
          กบข. เป็นผู้ก�ากับและดูแลโดยทั่วไปซึ่งการจัดการกองทุน โดยมีส�านักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) เป็นผู้สอบบัญชี



           หน้าที่หลัก               เงินของกองทุน


                                           เงินของกองทุนประกอบด้วย             5.  เงินสมาชิกพ้นสมาชิกภาพ
                                                                         คือ เงินของสมาชิกที่สิ้นสุดสมาชิกภาพได้
                                           1.  เงินสะสม คือ เงินออมของสมาชิก    แจ้งความประสงค์ให้กองทุนบริหารเงินต่อ
                                     ส่วนราชการจะท�าการหักจากเงินเดือนของ  หรือขอทยอยรับ โดยกองทุนจะบริหารเงิน
                                     สมาชิกเพื่อน�าส่ง กบข. เพื่อน�าเข้าบัญชี   ที่ยังไม่ได้ขอรับคืนต่อไปได้
               (1) ด้านลงทุน  :      เงินรายบุคคลของสมาชิกทุกครั้งที่มีการจ่าย  6.  เงินส�ารอง คือ เงินที่รัฐจัดสรร
           น�าเงินที่รับจากสมาชิกและ  เงินเดือน ปัจจุบันกฎหมายก�าหนดอัตรา   เงินงบประมาณรายจ่ายของรัฐส่งเข้าบัญชี
           ส่วนราชการไปลงทุนเพื่อให้  เงินสะสมขั้นต�่าร้อยละ 3 ของเงินเดือน   เงินส�ารองที่ กบข. เพื่อเป็นหลักประกันส�าหรับ
           เกิดประโยชน์สูงสุดภายใต้  สมาชิกออมเพิ่มได้เมื่อรวมกับเงินสะสม   การจ่ายบ�าเหน็จบ�านาญให้แก่ข้าราชการ
           ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ ตาม  ขั้นต�่าต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินเดือน  ในกรณีเกิดวิกฤติทางเศรษฐกิจของประเทศ
           วัตถุประสงค์ของกฎหมาย           2.  เงินสมทบ เงินที่รัฐจ่ายสมทบ   รัฐอาจตราพระราชกฤษฎีกาสั่งให้ กบข.
           และนโยบายที่คณะกรรมการ    ให้กับสมาชิกที่ออมเงินสะสม ส่วนราชการ  น�าเงินส�ารองส่งกลับคืนเป็นรายได้แผ่นดิน
                                     จะเป็นผู้เบิกจากงบประมาณรายจ่ายของรัฐ
                                                                         เพื่อรัฐน�าไปจ่ายบ�าเหน็จบ�านาญข้าราชการ
           ก�าหนด                    ในอัตราที่เท่ากับอัตราเงินสะสมขั้นต�่า    และรัฐต้องจัดสรรเงินงบประมาณเพื่อ
                                     (ร้อยละ 3 ของเงินเดือน) ทุกครั้งที่มีการจ่าย   ชดเชยส่วนที่น�าออกไปคืน  กบข.  ในปี
                                     เงินเดือนน�าส่ง  กบข.  เพื่อน�าเข้าบัญชี   งบประมาณถัดไป
                                     รายบุคคลของสมาชิก                         ทั้งนี้ รัฐต้องจัดสรรงบประมาณรายจ่าย
                                           3.  เงินประเดิม คือ เงินที่รัฐส่งเข้า   จ�านวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 ของงบประมาณ
                                     บัญชีเงินรายบุคคลของสมาชิกที่รับราชการ   รายจ่ายบ�าเหน็จบ�านาญของข้าราชการประจ�า
                                     อยู่ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 ที่สมัครเข้า   ปี เข้าบัญชีเงินส�ารองทุกปีจนกว่าเงินส�ารอง
               (2) ด้านสมาชิก  :     เป็นสมาชิก กบข. ตามสูตรที่ก�าหนด และให้    เงินกองกลาง และดอกผลของเงินดังกล่าวจะมี
           ด�าเนินการเกี่ยวกับการบริหาร   กบข. จ่ายเงินดังกล่าวออกให้แก่สมาชิก    จ�านวน 3 เท่าของงบประมาณรายจ่ายบ�าเหน็จ
           ฐานข้อมูลสมาชิก การจัดสรร   เมื่อสมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพและเลือกรับ  บ�านาญข้าราชการประจ�าปี หลังจากนั้นให้ตั้ง
           ผลประโยชน์จากการลงทุน     บ�านาญ                              งบประมาณเพื่อให้เงินส�ารอง เงินกองกลาง
           การประชาสัมพันธ์เพื่อเสริมสร้าง   4.  เงินชดเชย  คือ  เงินที่รัฐจ่าย   และดอกผล คงระดับ 3 เท่าของงบประมาณ
           ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง   จากเงินงบประมาณรายจ่ายของรัฐเข้าบัญชี   รายจ่ายบ�าเหน็จบ�านาญของข้าราชการ
           การจัดสวัสดิการและสิทธิ   รายบุคคลของสมาชิก ทุกครั้งที่มีการจ่าย  ในแต่ละปี แต่หากมีจ�านวนเกิน 3 เท่า ให้ กบข.
           ประโยชน์ต่าง ๆ ให้แก่สมาชิก   เงินเดือน ในอัตราร้อยละ 2 ของเงินเดือน   น�าเงินส่วนที่เกินนั้นส่งเป็นรายได้แผ่นดิน
           รวมถึงการจ่ายเงินและผล    และให้ กบข. จ่ายเงินดังกล่าวออกให้แก่     7.  เงินกองกลาง คือ เงินบริจาค
           ประโยชน์คืนให้แก่สมาชิก   สมาชิก เมื่อสมาชิกสิ้นสุดสมาชิกภาพและ  เงินตามบัญชีเงินรายบุคคลที่ไม่มีผู้รับ
                                     เลือกรับบ�านาญ                      เป็นเงินส่วนกลางที่มิใช่ของสมาชิกคนใด
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49