ถา

มีใครสักคนมาขอยืมเงินเรา และเรามีเงินเหลือมากพอที่จะ

ใหยืม สิ่งแรกที่เราตองพิจารณากอนใหยืมเงินนั้นก็คือ เรามีโอกาสถูกเบี้ยวหนี้

มากนอยเพียงใด อยางเชน เรามีเพื่อนอยู 2 คน คนแรก นาย ก. มีฐานะมั่นคง 

มีรายไดสม่ำเสมอ ตองการนำเงินไปขยายธุรกิจ กับ นาย ข. ซึ่งมีรายไดไม

สม่ำเสมอและมาขอยืมเงินโดยไมบอกเหตุผล แถมยังเคยมีประวัติยืมเงินเรา

แลวคืนชาอีก หากพิจารณาจากปจจัยขางตน การให นาย ก. ยืมเงินนาจะมี

ความเสี่ยงนอยกวาให นาย ข. ดังนั้นถาเราจะใหนาย ข. ยืมเงินจริง ๆ เราคง

ตองขอคิดดอกเบี้ยมากกวา นาย ก. สักหนอย เพื่อชดเชยความเสี่ยงที่เรา

ตองแบกรับไว

 

การใหใครสักคนยืมเงินแลวเราไดดอกเบี้ยเปนการตอบแทน ก็เปรียบ

เสมือนการที่ผูลงทุนนำเงินไปใหองคกรหรือบริษัทผูออกตราสารหนี้ยืมเงิน 

ซึ่งผูออกตราสารหนี้ (Issuer) มีหนาที่ตองจายดอกเบี้ยและคืนเงินตนเมื่อครบ

กำหนดสัญญาใหกับนักลงทุนผูถือตราสารหนี้ (Investor) ดังนั้นกอนผูลงทุน

จะตัดสินใจใหองคกรหรือบริษัทไหนกูยืมเงินเราไปใช ควรพิจารณาอันดับ

เครดิตกันกอนนะครับ

แนวทางการเลือกลงทุนตราสารหนี้

 

สำหรับผูลงทุนที่ตองการลงทุนแบบมีสภาพคลอง อาจพิจารณา

เลือกลงทุนในกองทุนรวมตราสารหนี้ ซึ่งมีทั้งประเภทกองทุนรวมตลาดเงิน 

(Money Market Fund) เปนกองทุนรวมที่ลงทุนในตราสารหนี้ที่มีอายุคงเหลือ

ไมเกิน 1 ป หรือกองทุนรวมตราสารหนี้ (Fixed Income Fund) ที่ลงทุนใน

ตราสารหนี้ประเภทตาง ๆ เชน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ รวมถึง

หุนกูภาคเอกชน อีกทั้งยังมีกองทุนรวมตราสารหนี้ที่ลงทุนในตางประเทศให

เลือกอีกดวย ขอดีของการลงทุนในกองทุนรวมตราสารหนี้นั้นคือมีผูจัดการ

กองทุนบริหารเงินลงทุน บริหารความเสี่ยงใหกับเรา คอยติดตามสถานะตราสาร

ที่เขาไปลงทุน โดยผูลงทุนสามารถเลือกกองทุนที่มีนโยบายสอดคลองกับความ

ตองการของตนเอง สวนขอมูลรายละเอียด คาธรรมเนียมและเงื่อนไขตาง ๆ 

สามารถศึกษาไดจากหนังสือชี้ชวนเพื่อประกอบการตัดสินใจลงทุน

 

ทั้งนี้ในสวนการลงทุนของ กบข. ซึ่งบริหารเงินลงทุนใหกับสมาชิก

กวา 1.1 ลานราย มีนโยบายการลงทุนคัดเลือกตราสารหนี้ที่มีคุณภาพสูง 

โดยเลือกตราสารหนี้ที่มีอันดับเครดิตอยูในระดับ Investment Grade 

เพื่อสรางความมั่นคงทางการเงินใหกับสมาชิก ...

สำหรับผูลงทุนทั่วไปแลวแนะนำวาควรเลือกลงทุนตราสารหนี้ที่อยูใน

ระดับ Investment Grade ซึ่งจะมีความปลอดภัย เปนการหลีกเลี่ยง

โอกาสการสูญเสียเงินตน หลีกเลี่ยงโอกาสที่จะไดผลประโยชนไมครบ

ตามจำนวนหรือระยะเวลาที่กำหนดไวตามสัญญา

1.

ผูลงทุนพึงระลึกวาการซื้อหุนกูหรือพันธบัตรโดยตรงนั้น มีความเสี่ยง

สภาพคลอง (Liquidity Risk) เนื่องจากตลาดรองของตราสารหนี้นั้น

มีผูซื้อขายนอยราย เมื่อผูลงทุนตัดสินใจลงทุนตราสารหนี้ไปแลว มักตอง

ถือครองตราสารจนครบกำหนดไถถอน ดังนั้นผูลงทุนรายยอยควร

พิจารณาเลือกอายุตราสารหนี้ใหเหมาะกับระยะเวลาที่ตองการใชเงิน

ในอนาคต

2.

อันดับเครดิต หร�อ Credit Rating คืออะไร

 

สิ่งที่จะทำใหผูลงทุนรูวาตราสารหนี้นั้น ๆ มีโอกาสการผิดนัดชำระ

หนี้ (Default) มากนอยเพียงใด ก็คือการดูจากอันดับความนาเชื่อถือหรือ

อันดับเครดิต ซึ่งเปนการประเมินความนาเชื่อถือของทั้งตัวองคกรที่เปนผูออก

ตราสารหนี้ไมวาจะเปน รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ หรือบริษัทเอกชนตาง ๆ และ

เปนการประเมินความนาเชื่อถือในระดับของตราสารหนี้แตละตัวที่องคกร

นั้น ๆ ไดออกมาเสนอขายใหกับผูลงทุน โดยจะมีการประเมินจาก สถาบัน

จัดอันดับเครดิต (Credit Rating Agency) โดยบริษัทจัดอันดับเครดิตที่ไดรับ

การยอมรับในระดับสากล 3 บริษัท ไดแก Standard and Poor’s (S&P) / 

Moody’s / Fitch สวนในประเทศไทยนั้นจะมี ทริสเรทติ้งและฟทช เรทติ้งส 

(ประเทศไทย) ซึ่งสถาบันเหลานี้ทำหนาที่ใหบริการจัดอันดับเครดิตโดย

พิจารณาจากภาพรวมลักษณะธุรกิจ ปจจัยหลักตาง ๆ ที่มีผลตอผลประกอบการ 

ความสามารถในการแขงขันทั้งในระยะสั้นและระยะยาวของธุรกิจ มีการ

พิจารณาขอมูลดานการเงินจากงบการเงินของบริษัท แผนงบประมาณตาง ๆ 

รวมไปถึงระดับหนี้และโครงสรางเงินทุนของบริษัท

อันดับเครดิตบอกอะไรเราบŒาง

 

สำหรับอันดับเครดิตของตราสารหนี้ระยะสั้น จะมีตั้งแต T1 หรือ 

F1+ (อาจแตกตางกันไปในแตละสถาบันจัดอันดับเครดิต) ลงไปจนต่ำสุดถึง

ระดับ D สวนอันดับเครดิตของตราสารหนี้ระยะกลางถึงยาวที่มีอายุตั้งแต 1 

ปขึ้นไปจะถูกตัดเกรดแบงเปนสองกลุมใหญ คือ กลุมนาลงทุน (Investment 

Grade) จะมีอันดับเครดิต AAA ลงไปถึง BBB- และกลุมเก็งกำไร (Speculative 

Grade) เริ่มตนตั้งแตอันดับ BB+ ลงไปจนถึง D โดยตราสารหนี้ที่อันดับเครดิต

ยิ่งสูง (AAA) จะมีความเสี่ยงในการผิดนัดชำระหนี้ต่ำ ซึ่งตามทฤษฎีการเงิน

แลวตราสารหนี้ประเภท พันธบัตรรัฐบาล (Government Bond) จะถือวา

เปนสินทรัพยลงทุนที่ปราศจากความเสี่ยง (Risk-Free Asset) เพราะวารัฐบาล

มีความนาเชื่อถือมีความสามารถในการชำระหนี้ เนื่องจากรัฐบาลมีอำนาจ 

(Authority) ในการจัดเก็บภาษีเพื่อนำมาใชหนี้คืนนั่นเอง สวนตราสารหนี้ที่

ออกโดยภาคเอกชนหรือที่เรียกวาหุนกูนั้น จะมีความเสี่ยงสูงกวาพันธบัตร

รัฐบาล ดังนั้นหุนกูภาคเอกชนจึงตองมีการจายดอกเบี้ยใหกับผูลงทุนในอัตรา

ที่สูงกวาพันธบัตรรัฐบาลจึงจะเปนที่สนใจของนักลงทุน

09

Money Buddy

โดย ศูนยขŒอมูลการเง�น กบข.

อันดับเครดิต (Credit Rating)

เร�่องตŒองรูŒก‹อนลงทุนตราสารหนี้