สำหรับภารกิจสำคัญในปนี้ กบข. ไดกำหนดทิศทางองคกร

เพื่อมุงสูการเปนกองทุนบำนาญที่ยั่งยืนภายใต 2 สองเปาหมายหลัก คือ 

“สมาชิกมีเงินออมเพื่อการเกษียณที่เพียงพอ” และ “สังคมมีความยั่งยืน” 

โดยในเรื่องของการมีเงินออมเพื่อใชในยามเกษียณที่เพียงพอนั้น กบข. 

ตั้งเปาหมายวา สมาชิกควรมีเงินออมคิดเปน 80% ของเงินเดือนสุดทาย

กอนเกษียณ หรือมีเงินออมอยูใน Percentile ที่ 70 ของเงินขั้นต่ำพึงมี ณ 

วันเกษียณ ซึ่งการจะบรรลุเปาหมายได สมาชิกจะตอง “ออมเพิ่ม” และ 

“เลือกแผนการลงทุน” ใหเหมาะสมกับตนเองได โดยในปนี้ กบข. ตั้งเปา

ใหสมาชิกออมเพิ่มกับ กบข. เพิ่มขึ้น 1.5 แสนคน จากสมาชิกทั้งหมดกวา 

1.09 ลานคน โดยที่ผานมาตลอด 10 ป มีผูสนใจการออมเพิ่ม - เลือกแผน

การลงทุน รวมกันทั้งหมดเพียง 1 แสนคน และแนะนำใหสมาชิกที่มีเงิน

ใชจายยามเกษียณใกลเคียงหรือนอยกวาปจจุบันใหเลือกแผนการลงทุน

ที่เหมาะสมกับเปาหมายการออมและความเสี่ยงที่รับได โดย กบข. ไดมุง

รักษาระดับผลตอบแทนดวยความสม่ำเสมอประมาณ 4% ในทุกป ซึ่งจะ

สามารถสรางความเชื่อมั่นจากสมาชิกไดมากขึ้นนอกเหนือจากการ

ใหบริการสมาชิก

 

กบข. ไดรวมกับคณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณ

มหาวิทยาลัย พัฒนา “ดัชนีความพรอมเพื่อการเกษียณ (Retirement 

Readiness Index) สำหรับประเทศไทย” โดยมุงหวังวาดัชนีนี้จะเปนขอมูล

ที่เปนประโยชนกับสมาชิก กบข. และสังคมไทยโดยรวมในการเขาสูสังคม

ผูสูงอายุ เพื่อชวยสรางความตระหนักรับรูใหกับประชาชนทั่วไปถึงความ

สำคัญของการออมและการวางแผนทางดานการเงินเพื่อเตรียมความพรอม

สำหรับการเกษียณอายุ โดยคาดวาจะสามารถเผยแพรผลดัชนีไดภายใน

ไตรมาส 3 ของปนี้ ซึ่งดัชนีสำหรับประเทศที่กำลังพัฒนานั้นไดตอยอด

ความสำเร็จจากการพัฒนา “ดัชนีความพรอมเพื่อการเกษียณสำหรับสมาชิก

กบข.” ซึ่งพัฒนาสำเร็จลุลวงแลวในป พ.ศ. 2562 ที่ผานมา โดย กบข. 

สามารถนำดัชนีดังกลาวมาเปนเครื่องมือและบรรทัดฐานในการวัดความพรอม

ในการเขาสูการเกษียณอายุใหกับสมาชิก กบข. และยังใชในการวางแผน

พัฒนากลยุทธ การสื่อสารกับสมาชิกและสรางการตระหนักถึงความสำคัญ

ของการออม การวางแผนทางการเงินใหกับสมาชิกไดอยางมีประสิทธิภาพ
 

สำหรับในดานของการลงทุน กบข. ไดเพิ่มสัดสวนการลงทุนใน

ตางประเทศ โดยเพิ่มเพดานการลงทุนจากรอยละ 30 เปนรอยละ 40 ของ

สินทรัพยรวม ซึ่งการนำเงินไปลงทุนในตางประเทศเพิ่มขึ้น จะเปนการ

กระจายความเสี่ยง และเพิ่มโอกาสการหาผลตอบแทนการลงทุนไปยัง

ตลาดที่มีศักยภาพ ในสินทรัพยประเภทตาง ๆ ที่หลากหลาย โดยมุงเนน

การลงทุนเพิ่มเติมในสินทรัพยทางเลือก (Alternative Assets) เชน กองทุน

โครงสรางพื้นฐาน กองทุนอสังหาริมทรัพย หรือ กองทุนไพรเวทอิควิตี้ 

และการลงทุนในตลาดหุนตางประเทศ
 

อีกหนึ่งเปาหมายหลักในปนี้ของ กบข. คือ สังคมมีความยั่งยืน 

โดยริเริ่มในดานการลงทุนที่ใหความสำคัญกับปจจัยสิ่งแวดลอม สังคม และ

ธรรมาภิบาล หรือ ESG Investment และเปนผูนำที่ทำใหเกิดกระแสตื่นตัว

เรื่องนี้ในตลาดทุนไทยและโครงการเรือธงที่สรางความสำเร็จระดับประเทศ

ของ กบข. ในป 2562 ที่ผานมา คือการริเริ่มและผลักดันใหนักลงทุนสถาบัน

ไทย 32 ราย ลงนามความรวมมือกำหนดแนวปฏิบัติการระงับลงทุนในกิจการ

ที่มีปญหาธรรมาภิบาล (Negative List Guideline) เพื่อกระตุนใหเกิดการ

ตระหนักและสงเสริมธรรมาภิบาลการลงทุนของนักลงทุนสถาบันในประเทศ

ที่สำคัญในป 2563 นี้ กบข. พรอมสานตออยางเขมขนดวยการนำปจจัย 

ESG มาเปนสวนหนึ่งในการคัดเลือกผูจัดการกองทุนเพื่อสรางการตระหนัก

ถึงความสำคัญในการลงทุนอยางมี ESG ใหกับผูจัดการกองทุนไดลงมือทำ

อยางจริงจัง เพื่อใหเกิดวัฒนธรรมที่ดีในการดำเนินธุรกิจอันจะนำมาสูการ

รวมสรางสังคมใหมีความยั่งยืนรวมกัน ซึ่งถือเปนอีกหนึ่งกาวสำคัญในการ

ยกระดับ กบข. สูการเปน "กองทุนบำนาญที่ยั่งยืน" ...

มุ‹งสู‹การเปšนกองทุนบำนาญที่ยั�งยืน

ครั�งแรกในประเทศไทย 

ดัชนีความพรŒอมเพ�่อการเกษ�ยณระดับประเทศ

08