ใชŒช�ว�ตอย‹างไรใหŒแฮปป‚œ

13

องคการสหประชาชาติ (United Nations:UN) ไดใหนิยาม 

ผูสูงวัย (Older Person) หมายถึง ประชากรทั้งเพศชาย

และหญิงที่มีอายุมากกวา 60 ป ขึ้นไป โดยแบงระดับการ

เขาสูสังคมผูสูงวัย เปน 3 ระดับ ตามอัตราสวนรอยละของ

จำนวนผูสูงวัยตอจำนวนประชากรรวมของแตละประเทศ

สังคมสูงวัยคืออะไร ?

สังคมสูงวัย 

(Aged Society)

สังคมสูงวัยอย‹างสมบูรณ 

(Complete Aged Society)

10%

20%

28%

60+

2548

2564

2578

หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ป‚ข�้นไป

มากกว‹ารŒอยละ 10 ของประชากรทั�งหมด

หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ป‚ข�้นไป

มากกว‹ารŒอยละ 20 ของประชากรทั�งหมด

สังคมสูงวัยอย‹างสมบูรณ 

(Super Aged Society)

หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ป‚ข�้นไป

มากกว‹ารŒอยละ 28 ของประชากรทั�งหมด

ประเทศไทยไดเขาสูการเปนสังคมสูงวัย (Aged Society) มาตั้งแตป 2548 เปนตนมา และคาดวา

จะเปน “สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ” (Complete Aged Society) ในป 2564 ซึ่งก็คือในระยะเวลา

อีกไมกี่เดือนขางหนานี้ จากนั้นจึงจะกาวเขาสู “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) 

ภายในป 2578 ซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางโครงสรางของประชากรในการเขาสูสังคมผูสูงวัยเปนประเด็นที่

ไดรับความสนใจอยางมากทั้งในระดับชาติและระดับโลก เนื่องจากมีผลกระทบตอการเจริญเติบโตทาง

เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชนโดยรวม ดังนั้น สังคมสูงวัยกับประเทศไทย จึงไมใดเปนเรื่อง

ไกลตัวเราแตอยางใด

สังคมสูงวัยกับประเทศไทย….. ไม‹ใช‹เร�่องไกลตัว 

เตร�ยมพรŒอม

สู‹สังคมสูงวัย